ingresoxtremo.com

โครงสราง-เวลา-เรยน-2560

สุชีพ ปุญญานุภาพ "คุณลักษณะพิเศษแห่งพระพุทธศาสนา"

  1. ความหมาย
  2. กุศลกรรมบถ 10 คืออะไร มีอะไรบ้าง - เกร็ดความรู้.net
  3. กรรม ๑๒
  4. การ์ตูน

ความหมาย

กรรม 12 ประการ คือ

~กรรม ๑๒~ กรรม ๑๒ หรือกรรมสี่ ๓ หมวด ตามที่ท่านแสดงไว้ในอรรถกถา และฎีกาทั้งหลาย มีหัวข้อและความหมายโดยย่อดังนี้... หมวดที่ ๑ ว่าโดยปากกาล.... คือ จำแนกตามกาลเวลาที่ให้ผล ๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม.... กรรมให้ผลในปัจจุบันคือ ภพนี้ได้แก่กรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่กระทำ ในขณะแห่งชวนจิตดวงแรกในบรรดาชวนจิตทั้ง ๗ แห่งชวนวิถีหนึ่งๆ พูดเป็นภาษาวิชาการว่า ได้แก่... ชวนจิตเจตนาที่หนึ่ง กรรมนี้ให้ผล เฉพาะในชาตินี้เท่านั้น ถ้าไม่มีโอกาสให้ผลในชาตินี้ ก็กลายเป็นอโห- สิกรรม ไม่มีผลต่อไป เหตุที่ให้ผลในชาตินี้เพราะเป็นเจตนาดวงแรก ไม่ถูกกรรมอื่นครอบงำ เป็นการปรุงแต่งแต่เริ่มต้น จึงมีกำลังแรง แต่ ไม่ให้ผลต่อจากชาตินี้ไปอีก เพราะไม่ได้การเสพคุ้น จึงมีผลน้อย ท่าน เปรียบว่าเหมือนพรานเห็นเนื้อ หยิบลูกศรยิงไปทันที ถ้าถูกเนื้อก็ล้มที่ นั่น แต่ถ้าพลาด เนื้อก็รอดไป ๒. อุปปัชชเวทนียกรรม... กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ได้แก่ กรรมดีก็ตาม ชั่วก็ ตาม ที่กระทำในขณะแห่งชวนจิตดวงสุดท้าย ในบรรดาชวนจิตทั้ง ๗ แห่งชวนวิถีหนึ่งๆ พูดเป็นภาษาวิชาการว่า ได้แก่ชวนจิตดวงที่ ๗ กรรม นี้ให้ผลเฉพาะในชาติถัดจากนี้ไปเท่านั้น ถ้าไม่มีโอกาสให้ผลในชาติหน้า ก็กลายเป็นอโหสิกรรม ที่เป็นเช่นนี้ เพราะเป็นเจตนาท้ายสุดของชวนวิถี เป็นตัวให้สำเร็จความประสงค์และได้ความเสพคุ้นจากขวนเจตนาก่อนๆ มาแล้ว แต่ในเวลาเดียวกัน ก็มีกำลังจำกัด เพราะเป็นขณะจิตที่กำลังสิ้น สุดชวนวิถี ๓.

กรรม 12 ประการ การ์ตูน

กุศลกรรมบถ 10 คืออะไร มีอะไรบ้าง - เกร็ดความรู้.net

  1. เปรียบเทียบเคส iphone Kaws Apple 11 silicone เคสไอโฟน13 Pro max เคสไอโฟน12pm phone case iPhone 12Promax lens all-inclusive เคส i12pro เคส iphone13promax เคส8plus i11 I7 plus iเคส 6P iXR เคสไอโฟนxsmax soft case | ผลิตภัณฑ์ฮาร์ด
  2. ฟีฟ่า 55 ทาง เข้า
  3. ปฏิจจสมุปบาท กับลัทธิแก้กรรม (4)
  4. คอม งบ 5000 ans
  5. อัลบั้ม > เคาน์เตอร์บาร์ไม้สัก_020
  6. กรรม12ประการ
หมวดหมู่: หลักธรรมะ Tags: ธรรมะ เรื่องน่ารู้ กุศลกรรมบถ 10 หมายถึง ทางแห่งกรรมดี ทางทำดี ทางแห่งกรรมที่เป็นกุศล กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่ความสุขความเจริญหรือสุคติ 10 ประการ กุศลกรรมบถ 10 แบ่งออกเป็น 3 หมวด ดังนี้ 1. กายกรรม 3 ประการ 1. ไม่ฆ่าหรือทำลายชีวิตผู้อื่น 2. ไม่ลักขโมย หรือยึดเอาทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน 3. ไม่ประพฤติผิดในกาม 2. วจีกรรม 4 ประการ 4. ไม่พูดเท็จ 5. ไม่พูดส่อเ สี ยด 6. ไม่พูดคำหยาบคาย 7. ไม่พูดเพ้อเจ้อ 3. มโนกรรม 3 ประการ 8. ไม่โลภอยากได้ของคนอื่น 9. ไม่คิดพยาบาทปองร้ายผู้อื่น 10. เห็นชอบตามคลองธรรม …พบกับ ธรรมะกับชีวิต และ หลักธรรมะ ดีๆได้มากมายที่นี่ เกร็ดความรู้ … -------------- advertisements -------------- Comments

โดยนัยของพระสุตตันตปิฎก ตามข้อความในมโนรถปูรณี อรรถกถา อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต ปฐมปัณณาสก์ วรรคที่ ๔ นิทานสูตร ซึ่งได้แสดงกรรม ๑๑ คือ แสดงโดยกาลของการให้ผล ๓ ได้แก่ ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในปัจจุบันชาติ ๑ อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมที่ให้ผลในชาติต่อไป ๑ และอปรปริยายเวทนียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาติต่อๆไปนั้นอีก ตราบใดที่สังสารวัฏยังไม่สิ้น ๑ ซึ่งข้อความเรื่องของกรรมอื่น จะไม่ใช่กรรม ๑๑ แต่เป็นกรรม ๑๒ โดยกล่าวถึงอีกกรรมหนึ่ง คือ อโหสิกรรม ซึ่งข้อความในมโนรถปุรนี โดยปริยายแห่งปฏิสัมภิทามรรค ท่านพระสารีบุตรจำแนกกรรม แม้อย่างอื่นไว้ ๑๒ ประการ มีข้อความว่า ๑.

กรรม ๑๒

เผยแพร่: 21 ก. ย.

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่มีพิธีกรรมเป็นส่วนประกอบสำคัญอย่างหนึ่งของศาสนา เพราะชาวฮินดูทุกวรรณะย้อมมีขนบธรรมเนียมประเพณีเฉพาะที่ต้องประพฤติตามที่กำหนดไว้สำหรับวรรณะของตน และกฎประเพณีส่วนรวม ที่ต้องปฏิบัติสำหรับทุกชั้นวรรณะ โดยแบ่งออกเป็น 4 หมวด ดังนี้ 1.

การ์ตูน

วิชชา เข้าใจโลกแห่งอนัตตา โลกแห่งอนิจจัง และโลกแห่งทุกขัง หรือใช้คำว่า คิดชอบ 2. ต้องดำริชอบ 3. วาจาชอบ 4. ปฏิบัติชอบ 5. พยายามชอบ 6. เลี้ยงชีพชอบ 7. สติชอบ 8. สมาธิชอบ ที่สำคัญ พระพุทธองค์ตระหนักรู้ว่า แต่ละบุคคล หรือคนใดคนหนึ่ง จะก้าวผ่านลัทธิอัตตาได้ยาก พุทธองค์จึงตั้งชุมชนสงฆ์ขึ้น เพื่อสร้างเงื่อนไขแวดล้อมที่งดงาม และเพื่อให้บรรดาผู้ปฏิบัติธรรมต่างช่วยเสริมซึ่งกันและกัน ก็จะทำให้ก้าวพ้นเรื่องอัตตาและทุกข์ได้ (ยังมีต่อ)

ภวิสฺสติ กมฺมํ ภวิสฺสติ กมฺมวิปาโก กรรมจักมี ผลของกรรมจักมี ได้แก่ทุกท่านหรือเปล่า หรือว่าหมดกรรมแล้ว ไม่มีกรรมอีกต่อไปแล้ว อย่างนั้นหรือคะ ทุกท่านยังมีกิเลสอยู่ เพราะฉะนั้นแน่นอนที่สุดคือกรรมจักมี และผลของกรรมจักมี ได้แก่ กรรมที่จะกระทำในอนาคตก็ทำให้เกิดวิบากในอนาคต ยังไม่หมดสิ้นเลย ไม่ว่าจะเป็นกรรมอดีต หรือกรรมปัจจุบัน หรือกรรมที่จะทำในอนาคต หรือกรรมที่จักมีในอนาคตก็ทำให้เกิดวิบากในอนาคตด้วย ๑๒. ภวิสฺสติ กมฺมํ น ภวิสฺสติ กมฺมวิปาโก กรรมจักมี ผลของกรรมจักไม่มี คือ กรรมในอนาคตไม่ทำให้เกิดวิบากในอนาคต เห็นความต่างกันของกรรมแต่ละชนิด แต่ละประเภท แต่ละชีวิตในสังสารวัฏไหม ที่ว่ากรรมอนาคตไม่ทำให้เกิดวิบากในอนาคต ผู้ที่เจริญกุศล รู้แจ้งอริยสัจธรรมถึงความเป็นพระอรหันต์ ไม่ทำให้เกิดวิบากในอนาคตหลังปรินิพพานแล้ว เพราะฉะนั้นก็เป็นกรรมจักมี ผลของกรรมจักไม่มี ไม่มีการสิ้นสุดกรรมและผลของกรรม ถ้าปัญญาไม่เกิดขึ้นรู้แจ้งสภาพธรรมที่กำลังเกิดขึ้นปรากฏตามความเป็นจริง

ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ พึงเห็นว่าเป็นกรรมเก่า ซึ่งถูกปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เกิดจากเจตจำนง เป็นที่เสวยเวทนา นี้เรียกว่า กรรมเก่า, กรรมใหม่เป็นไฉน? กรรมที่บุคคลกระทำด้วยกาย วาจา ใจ ในบัดนี้ เรียกว่า กรรมใหม่, ความดับกรรมเป็นไฉน? ภาวะที่สัมผัสวิมุตติ เพราะความดับไปแห่ง กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม เรียกว่า ความดับกรรม, ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความดับกรรมเป็นไฉน?

กรรม 12 ประการ เนื้อเพลง