ingresoxtremo.com

charlotte-ตอน-ท-2

การมิได้ถือเอาทรัพย์มรดกหรือไม่ได้ฟ้องเรียกมรดกภายในอายุความ ตามมาตรา ๑๗๕๔ การที่ทา่ยาทไม่ได้เข้าครอบครองหรือไม่ได้ฟ้องเรียกเอาทรัพย์มรดกภายในอายุความ ๑ ปี ทำให้ทายาทเสียสิทธิในการรับมรดก เพราะฟ้องไปก็แพ้ หากทายาทอีกฝ่ายยกอายุความขั้นต่อสู้ สิทธิของการรับมรดกและการเสียสิทธิในการรับมรดก นั้นมีอยู่ตามกฎหมาย ขอให้เพื่อนๆ ดูแลรักษาสิทธิประโยชน์ของตนเองและของญาติพี่น้องให้ดีดีนะครับ บทความที่เกี่ยวข้อง แล้วพบกันใหม่ที่บทความต่อไปครับ หวังว่าจะมีประโยชน์ต่อเพื่อนๆ นะครับ ปล. ชอบกด Like ใช่กด Share รักกด Love กฎหมายเพื่อความสุข

  1. Version
  2. วิธีการสละมรดก ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612| ทนายความเชียงใหม่ ปรึกษากฎหมายฟรี โทร0957788803

Version

หากเจ้ามรดกทำพินัยกรรมไว้อย่างใดก็ต้องเป็นไปตามนั้น แต่ถ้าไม่ได้ทำพินัยกรรมไว้ก็นำทรัพย์มรดกของเจ้ามรดกมาแบ่งระหว่างทายาทโดยธรรมได้ทันที ๒. การทำพินัยกรรมต้องถูกต้องตามกฎหมาย เช่น อายุผู้ทำพินัยกรรม (มาตรา ๑๗๐๓) ผู้ทำพินัยกรรมเป็นคนวิกลจริตหรือบุคคลซึ่งถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ (มาตรา ๑๗๐๔) พินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมทำตามแบบหรือไม่ (มาตรา ๑๗๐๕) เป็นต้น ถ้าไม่ทำให้ถูกต้องตามกฎหมายพินัยกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆะ ทรัพย์มรดกไม่ตกแก่ผู้รับพินัยกรรม แต่ตกแก่ทายาทโดยธรรมต่อไป ๓. การแบ่งทรัพย์ระหว่างเจ้ามรดกกับคู่สมรสต้องแยกสินส่วนตัวออกไปก่อนแล้วจึงพิจารณาแยกสินสมรสเมื่อดำเนินการแบ่งกันแล้ว ก็จะมีทรัพย์สินที่เป็นกองมรดกของเจ้ามรดกซึ่งจะต้องดำเนินการแบ่งระหว่างทายาทผู้ที่มีสิทธิต่อไป ๔. ทายาทโดยธรรมลำดับก่อนยังมีชีวิตอยู่หรือยังมีผู้มีสิทธิรับมรดกแทนที่ยังไม่ขาดสาย ทายาทที่มีอยู่ลำดับถัดไปไม่มีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตาย และบิดามารดาของผู้สืบสันดานของเจ้ามรดกยังมีชีวิตอยู่หรือมีผู้รับมรดกแทนที่และบิดามารดาของเจ้ามรดกยังมีชีวิตอยู่ ให้บิดามารดาได้รับส่วนแบ่งเสมือนหนึ่งเป็นทายาทชั้นบุตร ๕. ผู้สืบสันดานต่างชั้นกัน บุตรของผู้ตายซึ่งอยู่ในชั้นสนิทที่สุดเท่านั้นมีสิทธิรับมรดก ผู้สืบสันดานในชั้นถัดไปจะรับมรดกได้โดยการรับมรดกแทนที่เท่านั้น ผู้สืบสันดานในลำดับเดียวกันได้รับส่วนแบ่งเท่ากัน ถ้ามีผู้สืบสันดานคนเดียวก็มีสิทธิได้รับส่วนแบ่งทั้งหมด ๖.

กรณีผู้สละมรดกเป็นผู้รับพินัยกรรม เมื่อทายาทโดยธรรมสละมรดกทำให้ผู้สละมรดกหมดสิทธิรับมรดกต่อไปแต่ผู้สืบสันดานของผู้สละมรดกย่อมสืบมมรดกต่อไปได้ แต่ถ้าผู้รับพินัยกรรมสละมรดก ผู้รับพินัยกรรมหมดสิทธิในการรับมรดกและผู้สืบสันดานของผู้รับพินัยกรรมก็ไม่อาจสืบสิทธิในการรับมรดกต่อไป การเพิกถอนการสละมรดกแบ่งได้เป็น ๒ กรณี คือ ๑. การถอนการสละมรดกโดยตัวทายาทเป็นผู้สละเอง หมายเหตุ เมื่อผู้สละมรดกได้แสดงเจตนาสละมรดกโดยสมบูรณ์แล้ว ย่อมจะถอนไม่ได้ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น ๒.

วิธีการสละมรดก ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1612| ทนายความเชียงใหม่ ปรึกษากฎหมายฟรี โทร0957788803

มาตรา 1612 ตอนท้าย และมาตรา 850 โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขอแบ่งที่ดินพิพาท

  • ตร.แจ้ง 2 ข้อหาหนุ่มบุกจับช้างพี่ชายเป็นตัวประกัน พ่อเสียใจยันแบ่งทั้งช้าง-ที่ดินให้ลูกเท่ากันไม่ลำเอียง
  • การ สละ มรดก pdf format
  • หนังโป๊เกย์ฝรั่งยุโรป Gay XXX ช่างประปาหุ่นแซ็บทำเกิดอารมณ์เงี่ยน - sex18hubs
  • ถูกหวย 1/9/63 กว่า 60 ล้านบาท หนุ่มรถไฟดวงเฮง ฝันเห็นปู่ทวด - leksanook