ingresoxtremo.com

มา-รวย-กาแฟ

บทความ กิจกรรมการเล่นของเล่นพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย.. แหล่งที่มา: /view/ 70497. ค้นเมื่อ 23 มกราคม 2562. ผู้จัดการออนไลน์. แฝงวิทยาศาสตร์ไว้ใน "ของเล่นภูมิปัญญาไทย".. แหล่งที่มา: /Science/ NewsID=9570000098575. ค้นเมื่อ 23 มกราคม 2562. มุทิตา ทาคำแสน. เล่นแบบไทยสุขใจกับธรรมชาติ.. แหล่งที่มา: / ค้นเมื่อ 23 มกราคม 2562.

การละเล่นพื้นบ้านไทย:  เดินกะลามะพร้าว

ของเล่นเด็ก จากของเหลือใช้ กิจกรรมสำหรับครอบครัว - my home

  1. เดินกะลา - การละเล่นของไทย
  2. “มงคล” หวั่นอาการล้า แต่เต็มที่ป้องกันแชมป์ “คิงส์คัพ” : PPTVHD36
  3. Folk Toys of Thailand : ฐานข้อมูลของเล่นพื้นบ้านของไทย
  4. เดินกะลา - การละเล่นพื้นบ้านของภาคใต้
  5. กิจกรรมการละเล่นของเล่นพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

การละเล่นพื้นบ้าน: เดินกะลา

เดินกะโป๋ หรือ เดินกะลา

กะลามะพร้าวผ่าครึ่ง เจาะรูที่ตากะลามะพร้าว ซึ่งอยู่ด้านบนสุดของส่วนโค้งของกะลามะพร้าว จำนวนคนละ 2 อัน 2. เชือกยาวเป็นสองเท่าของระยะจากพื้นดินถึงเอวผู้เล่นคนละเส้นใช้ปลายเชือกทั้งสองข้างสอดเข้าในรูที่เจาะไว้ของกะลามะพร้าวที่คว่ำอยู่ทั้งสองอันข้างละอัน แล้วผูกปลายเชือกแต่ละด้านให้เป็นปมขนาดใหญ่ เมื่อดึงเชือกขึ้นในขณะที่กะละมะพร้ามคว่ำอยู่ เชือกจะไม่หลุดจากกะลามะพร้าว สถานที่เล่น บริเวณลานกว้างทั่วไป เช่น ลานบ้าน ลานวัด สนามหญ้าในโรงเรียน โดยเขียนเส้นยาวลงที่พื้นดินเป็นเส้นเริ่มจากเส้นเริ่มเว้นระยะตามที่ตกลงกันประมาณ 20-30 เมตร เขียนเส้นยาวขนานกับเส้นแรกเป็นเส้นชัย วิธีเล่น 1. ให้ผู้เล่นทุกคนใช้มือทั้งสองจับเชือกที่ผูกกะลามะพร้าวใช้เท้าทั้งสองยืนบนกะลามะพร้าวที่คว่ำลงดินเท้าละอัน โดยใช้ง่ามนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้คีบเชือกเหนือกะลามะพร้าวไว้ในลักษณะเตรียมพร้อมอยู่หลังเส้นเริ่ม 2. เมื่อได้สัญญาณเริ่มเล่นจากกรรมการ ให้ผู้เล่นทุกคนคีบกะลามะพร้าว ก้าวเดินด้วยกะลามะพร้าวแข่งกันไปให้ถึงเส้นชัยให้เร็วที่สุด 3. ผู้เล่นคนใดเดินไปถึงเส้นชัยก่อน จะเป็นผู้ชนะ กติกา 1. ผู้เล่นคนใดตกจากกะลามะพร้าวหรือเชือกหลุดจากกะลามะพร้าว หรือเชือกขาด ถือว่าตาย ต้องออกจากการเล่น 2.

ใหมีกรรมการตัดสิน 1 คน ทำหน้าที่ควบคุมการเล่น และตัดสินผลการแข่งขัน ที่มา หลักสูตร แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพด้วยกีฬาท้องถิ่นพื้นบ้าน