ingresoxtremo.com

มา-รวย-กาแฟ

การประกอบตนให้อยู่ในความสุขด้วยกาม ซึ่งเป็นธรรมอันเลวเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๒. การประกอบการทรมานตนให้เกิดความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ การดำเนินตามทางสายกลาง คือ ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดทั้งสองอย่างนั้น เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาและญาณให้เกิด เป็นไปเพื่อความสงบระงับ ความรู้ยิ่ง ความตรัสรู้ และนิพพาน ทางสายกลาง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์แปด คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ดำริห์ชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ อริยสัจสี่ คือความจริงอันประเสริฐที่พระองค์ค้นพบ มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. ความทุกข์ ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ความได้พบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น ว่าโดยย่อ อุปาทานในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ๒. สาเหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ ตัณหาความทะยานอยาก อันทำให้เกิดอีกความกำหนัด เพลิดเพลินในอารมณ์ คือกามตัณหา ความทะยานอยากในกาม ภวตัณหา ความทะยานในภพ วิภวตัณหา ความทะยานอยากในความไม่มีภพ ๓. ความดับทุกข์ โดยการดับตัณหาด้วยอริยมรรค คือ วิราคะ สละ ดับ ปล่อยไป ไม่พัวพัน ๔.

  1. วันอาสาฬหบูชา | krusuwaree
  2. วันอาสาฬหบูชา - Chaisri Nites (Classic Site)
  3. [WanWan Daily] "วันอาสาฬหบูชา"

วันอาสาฬหบูชา | krusuwaree

มัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลาง เป็นข้อปฏิบัติที่เป็นกลาง ๆ ถูกต้องและเหมาะสมที่จะให้บรรลุถึงจุดหมายได้ มิใช่การดำเนินชีวิตที่เอียงสุด ๒ อย่าง หรืออย่างหนึ่งอย่างใด คือ ๑. การหมกหมุ่นในความสุขทางกาย มัวเมาในรูป รส กลิ่น เสียง รวมความเรียกว่า เป็นการหลงเพลิดเพลินหมกหมุ่นในกามสุข หรือ กามสุขัลลิกานุโยค ๒. การสร้างความลำบากแก่ตนดำเนินชีวิตอย่างเลื่อนลอย เช่น บำเพ็ญตบะการทรมานตน คอยพึ่งอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นต้น การดำเนินชีวิตแบบที่ก่อความทุกข์ให้ตนเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค ดังนั้นเพื่อละเว้นห่างจากการปฏิบัติทางสุดเหล่านี้ ต้องใช้ทางสายกลาง ซึ่งเป็นการดำเนินชีวิตด้วยปัญญา โดยมีหลักปฏิบัติเป็นองค์ประกอบ ๘ ประการ เรียกว่า อริยอัฏฐังคิกมัคค์ หรือ มรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือ รู้เข้าใจถูกต้อง เห็นตามที่เป็นจริง ๒. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ คือ คิดสุจริตตั้งใจทำสิ่งที่ดีงาม ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กล่าวคำสุจริต ๔. สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ คือ ทำการที่สุจริต ๕. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสัมมาชีพหรืออาชีพที่สุจริต ๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชั่วบำเพ็ญดี ๗.

วันอาสาฬหบูชา - Chaisri Nites (Classic Site)

วัน อาสาฬหบูชา, วัน อาสาฬหบูชา หมายถึง, วัน อาสาฬหบูชา คือ, วัน อาสาฬหบูชา ความหมาย, วัน อาสาฬหบูชา คืออะไร อาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 หรือราวเดือน กรกฎาคม ซึ่งเป็นวันพระจันทร์เสวยอาสาฬหฤกษ์ แต่หากตรงกับปีอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน วันอาสาฬหบูชา จะเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 หลังตกในราวเดือนสิงหาคม "อาสาฬหบูชา" ย่อมาจากคำว่า "อาสาฬหปุรณมีบูชา" แปลว่า การบูชาในเดือนวันเพ็ญเดือนอาสาฬห คือเดือน 8 ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น 3 ประการดังนี้ 1. เป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือแสดงธรรมเป็นครั้งแรก มีชื่อว่า ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ซึ่งมีใจความสำคัญกล่าวถึงอริยสัจ 4 หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ คือ ความลำบาก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ นิโรธ คือ ความดับทุกข์ มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งทุกข์ การแสดงธรรมครั้งแรกนี้ เพื่อโปรดเหล่าปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 คือ อัญญาโกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ จึงถือกันว่าเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนา 2. เป็นวันที่เกิดสังฆรัตน หรือเป็นวันที่เกิดพระอริยสงฆ์ สาวกในพระพุทธศาสนาขึ้นครั้งแรกในโลก พระอริยสาวกองค์แรก คือพระอัญญาโกณฑัญญะ ซึ่งเมื่อฟังพระธรรมเทศนาธรรมจักกัปปวัตนสูตรแล้ว บังเกิดดวงตาเห็นธรรมทูลขอบวช ซึ่งพระพุทธองค์ทรงประทานอนุญาตให้อุปสมบทเป็นภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา ด้วยวิธีเอหิภุขุอุปสัมปทาในวันนี้ 3.

  1. วันอาสาฬหบูชา | วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
  2. วัน อาสาฬหบูชา (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! พีเดีย
  3. วันอาสาฬหบูชา
  4. บทที่ 3 วันสำคัญและพระพุทธศาสนา - สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

[WanWan Daily] "วันอาสาฬหบูชา"

สัมมาทิฏฐิ ปัญญาอันเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ ทำการงานชอบ ๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ พระพุทธองค์ทรงประกาศถึงสิ่งที่พระพุทธองค์ได้ทรงค้นพบด้วยพระองค์เอง สิ่งนั้นก็คือ อริยสัจ มี ๔ ประการ คือ ๑. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเดือดร้อนใจ ทุกข์เพราะเกิด – ดับ ความไม่สมหวัง ความพรัดพรากจากคนรัก สิ่งของที่รัก และชอบใจ และทุกข์อันเนื่องมาจากขันธ์ ๕ ๒. สมุทัย คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ซึ่งได้แก่ตัณหา ๓ อย่าง ได้แก่ ๒. ๑ กามตัณหา ความอยากในอารมณ์ที่น่ารักใคร่ น่าชอบใจ ๒. ๒ ภวตัณหา ความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ ๒. ๓ วิภวตัณหา ความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ ๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ กำจัดกิเลสตัณหาให้หมดสิ้นไป จิตสงบจากกิเลสและนิวรณ์ ๔. มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, มรรคนี้ได้แก่ อริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ และเมื่อกล่าวโดยย่อก็ได้แก่สิกขา ๓ อย่าง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นั่นเอง การที่จะเรียกว่าตรัสรู้อริยสัจนั้น ต้องเป็นความรู้ที่มีวนรอบคือ รู้ ๓ ชั้น ด้วยพระญาณทั้ง ๓ คือ ๑. สัจจญาณ ปรีชาหยั่งรู้อริยสัจ ๒.

เป็นวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เกิดขึ้นครบ 3 ประการ และเป็นครั้งแรกในโลก เหตุการณ์ในวันอาสาฬหบูชานี้ เกิดขึ้นหลังจากที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้ ในวันเพ็ญวิสาขะ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 แล้วสองเดือน ประวัติการประกอบพิธีอาสาฬหบูชา จุดมุ่งหมายในการประกอบพิธีในวันอาสาฬหบูชา เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญทั้ง 3 ประการ ที่เกิดขึ้นในสมัยพุทธกาล และน้อมนำเอาคำสั่งสอนมาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ การประกอบพิธีในวันสำคัญนี้ แบ่งออกเป็น 3 อย่าง คือ 1. พิธีหลวง 2. พิธีราษฎร์ 3.